วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำสั่ง UNIX

คำสั่ง UNIX
man เป็นคำสั่งการแสดงอธิบายการใช้คำสั่ง
alias ใช้เป็นคำสั่งให้สั้นลง
cal ใช้แสดงปฏิทินของระบบ
clear คำสั่งลบข้อความต่างๆบนหน้าจอ
cmp เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์
cat มีค่าเหมือนคำสั่ง type ของ
bos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์cut ใช้ตัด
Text หรือข้อความ
date ใช้แสดงเวลาและวันที่
diff ใช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์มีความคล้ายต่างหันอย่างไร
echo ใช้แสดงข้อความ
HELLOexit ออกจากระบบ
UNIXexipr ประมวลค่าจากสูตรคณิตศาสตร์
find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ
finger ใช้สำหรับแสดงรายละเอียด
grep เป็นคำสั่งที่ใชหาข้อความในไฟล์
head จะแสดงส่วนห้วแฟ้มข้อมูล
move คำสั่งที่ช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดได้เป็นช่วงๆ
less เป็ไฟล์ข้อความเพื่อดูรายละเอียดอย่างรวดเร็ว
passwd เป็น
password คนที่ทำงานปัจจุบัน
sort ใช้จัดเรียงข้อมูลนั้นเป็นการช่วยให้ผู้ดูแลข้อมูลนั้นสะดวกขึ้น
su เพื่อให้ระบบมีความปลอดภัยมากขึ้นกำหนดให้
user คนไหนบ้าง
tail ใช้สำหรับดูข้อมูลที่บรรทัดล่างสุดของไฟล์
touch เป็นการสร้างไฟล์ไหม่หรือแก้ไขไฟล์
w เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดค่าที่ 8 บิต
whoami เป็นคำสั่งที่แสดงว่าผู้ใช้
logni เข้าสู่ระบบ
who เปลี่ยนตัวเองเป็น
rootwhich คำสั่งเพื่อส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับ
whereis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากร

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง unix เบื้องต้น
1969 ถึงแม้ว่าระบบ Unix จะคิดค้นมานานแล้ว แต่ยังเป็นที่นิยมใช้กันมากมาจนถึง ปัจจุบัน โดยเฉพาะระบบ พื้นฐานของอินเตอร์เนต เนื่องจากมีความคล่องตัวสูง ...www.thaiwbi.com/course/unix/index2.html - 2k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

UNIX
ใช้อ้างอิงแทนตัวอักษร สัญลักษณ์พิเศษ หรือ ตัวเลขใดๆ 1 ตัวอักษร เช่นเมื่อเราจะ อ้างอิงถึงไฟล์ unix ? หมายถึง ไฟล์ทุก ไฟล์ที่ชื่อขึ้นต้นด้วย unix ...www.yupparaj.ac.th/DigitalLibrary/snet1/software/unix/index.html - 26k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

การใช้งานคำสั่ง unix เบื้องต้น
Bourne Shell (sh) เป็น starndard shell ที่มีใใน unix ทุกตัวสามารถย้าย shell script ไปยัง unix ระบบอื่นได้โครงสร้างเป็นแบบ Algol สามารถใช้งาน Procedure ได้ ...www.jobpub.com/articles/showarticle.asp?id=89 - 54k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถาม ความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับ unix

1.ความเป็นมา

บริษัท AT&T ร่วมมือกับ AIT พัฒนาระบบ MULTICS ขึ้นมาในช่วงปี 1960
MULTICS ทำท่าว่าจะไปไม่รอด AT&T จึงถอนตัวออกจากโครงการ
นักพัฒนาของ AT&T จึงได้นำความรู้และปัญหาจากโครงการ MULTIC
พัฒนาระบบใหม่แล้วสร้างเป็นระบบปฏิบัติการขึ้นมา และใช้ชื่อว่า UNIX
ในช่วงแรก UNIX ยังถูกใช้งานกับเครื่อง PDP-7 และ PDP-11 ของ AT&T เท่านั้น
ในช่วงปี 1973 UNIX ถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้งหมด โดยใช้ภาษา C ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของ UNIX เพราะ
– ทำให้ UNIX สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องหลายชนิด
– แก้ไขระบบได้ง่ายกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ ที่เขียนด้วยภาษา Assembly
– ราคาถูกลง
AT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software Distribution UNIX) ซึ่งเขียนโดย University of California ที่ Berkeley ระบบ UNIX ตัวนี้แจกฟรี และกลายเป็น UNIX ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางตัวหนึ่งโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย
เมื่อเครื่อง PC มีความสามารถสูงขึ้นและราคาถูกลงทำให้เกิด UNIX ที่ใช้บน PC ขึ้นมาชื่อว่า XENIX
ในช่วงกลางทศวรรษ 1980 ได้มีการพัฒนา X-window ขึ้นมา ทำให้การใช้งาน UNIX เริ่มมี Graphic User Interface
แหล่งที่มา http://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt#351,4,ประวัติความเป็นมาของ UNIX

2.คุณสมบัติ

-โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้

-เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน

-UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้

-สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ

-สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน

–หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย
แหล่งที่มา
http://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt#356,9,คุณสมบัติของระบบ UNIX

3.โครงสร้าง

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Unix นั้น สามารถแบ่งได้เป็น 4 ระดับด้วยกัน คือ
1.ฮาร์ดแวร์ ทุกคนก็คงรู้จักกันแล้วว่ามันคือ อุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้นั่นเอง
2.ยูนิกซ์ เคอเนล จะทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการกับข้อมูลต่างๆ ซึ่งส่วนประกอบตัวนี้จะขึ้นอยู่กับฮาร์แวร์ หากมีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอเนลก็จะเปลี่ยนแปลงด้วยค่ะ
3.เซลล์ เป็นตัวกลางระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ คือ นำคำสั่งจากผู้ใช้ไปแปลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ เรียกว่า command interpreter เซลล์ที่ใช้งานกันก็มีหลายแบบ แต่ที่เป็นที่นิยม ได้แก่
-->Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุกเซลล์
-->C shell (csh) พัฒนาหลังจาก Bourne shell แต่สามารถเก็บข้อมูลคำสั่งที่เคยใช้ได้
-->Korn shell (ksh) เป็นเซลล์ที่นำคุณสมบัติเด่นของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
-->Bourne again shell (bash) มีลักษณะคล้าย Korn shell และสร้างขึ้นมาให้มีการใช้ฟรี ซึ่งระบบปฏิบัติการ Linux ก็นำมาใช้ด้วยเช่นกัน
4.โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมที่ใช้งานเพิ่มเติม
แหล่งที่มา
http://com.md.kku.ac.th/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=118

4.shell

-ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ Kernel
-แปลคำสั่งจากผู้ใช้
-คำสั่งสามารถนำมาเขียนเป็นชุดคำสั่งให้ทำงานเรียกว่า Shell script
-กำหนดทิศทางการเข้าออกของ Input/Output

shell ที่นิยมใช้

- Bourne Shell มีโครงสร้างคล้ายภาษา ALGOL มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น $
- C Shell เป็นเชลล์ที่มีไวยากรณ์คล้ายภาษา C
- มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น %
- Korn Shell เป็นเชลล์ที่การทำงานมีลักษณะโต้ตอบ และ Kernel มีขนาดใหญ่กว่าเชลล์อื่น
แหล่งที่มา
http://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt#319,26,ประเภทของไฟล์

5.ระบบไฟล์และไดเรกเทอรี่

ประเภทของไฟล์
Regular File(-) เป็นไฟล์ปกติที่สร้างจาก Editor หรือสำเนามาจากไฟล์อื่น โดย
Directory (d) เป็นไฟล์ที่เก็บไฟล์ต่าง ๆ หรือ directoryใช้สัญลักษณ์ / แทน root directory
Character device file (c) เป็นไฟล์ชนิดพิเศษ เรียกว่า
Block device file (b)
UNIX domain sockets (s) อยู่ใน BSD Unix
Name pipes (p) ของ AT&T
Symbolic link (l)

การตั้งชื่อไฟล์หรือ directory
จะใช้ตัวอักษรใดในการตั้งชื่อก็ได้ ยกเว้นตัวอักษรต่อไปนี้ & * ( ) ; ‘ “ , < > /
ตั้งชื่อได้ยาวไม่จำกัด
ตัวอักษรตัวเล็กหรือตัวใหญ่ถือว่าแตกต่างกัน
ในเชลล์จะรับคำสั่งรวม Argument หรือชื่อที่สั่งให้ทำงานได้ไม่เกิน 225 ตัว
แหล่งที่มา
http://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt#319,26,ประเภทของไฟล์

วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แนะนำตัว

รหัสประจำตัวนักศึกษา 5012252101
ชื่อ-สกุล กฤษฎายุทธ ดาวงษ์ ชื่อเล่น หนุ่ม (noomkimji)
เพื่อนสนิท1. นาย เชษฐพล หอมจันทร์ (เชษ) Tol. 0862580340.
นายสมพร เทาศิริ (อ้น)
Blog : http://kritsadayut.blogspot.com/
Email : noom_pada@hotmail.com
เบอร์โทรศัพท์ 0876540762
เว็บไซน์ส่วนตัว http://www.geocities.com/kritsadayut

คำอธิบายรายวิชา และ E-Learning

คำอธิบายรายวิชาระบบปฏิการ 2 (Operating Systems 2 )
รหัสวิชา 4121402
ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ
หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของ
ผู้ใช้คนเดียว งานเดียวและใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระ
หว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC)
E-Learning
1.
http://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.html
แหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com
2.
http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htm
แหล่งที่มา เวปไซต์ CIMS
3.
http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518
แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattama
4.
http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files/Newบทที่5.1.doc
ที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
5.
http://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
6.
http://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์
แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี
7.
http://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
แหล่งที่มา Blog payamand.212cafe.com
8.
http://www.thaiabc.com/os/histunix.htm
แหล่งที่มา เวปไซต์เพื่อการศึกษา Thaiabc.com
9.
http://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.ppt
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
10.
http://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.html
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คณะวิทยาศาสตร์